Promotion พิเศษลงทะเบียนวันนี้ 2 ท่านฟรี 1 ท่าน (ต้องลงทะเบียนภายในวันที่ 22 พ.ค.66 นี้เท่านั้น)
อีคอนไทย เปิดอบรมหลักสูตร “การทำงานที่บ้าน” (Work From Home) กับ พ.รบ.คุ้มครองแรงงานฉบับใหม่”
เพื่อให้ทุกท่านได้ทราบถึงข้อมูลเกี่ยวกับ พ.ร.บ.คุ้มครองแรงงานฉบับใหม่ การทำงานแบบ Work From Home แบบเจาะลึก ซึ่งมีผลบังคับใช้ 18 เม.ย.66 การเปิดทางนายจ้าง-ลูกจ้างตกลงเวลาทำงาน พักผ่อน วันลา ให้ชัดเจน ให้สิทธิลูกจ้างปฏิเสธการติดต่อสื่อสารหลังเวลางานได้
หัวข้อ หลักสูตร “การทำงานที่บ้าน” (Work From Home) กับ พ.รบ.คุ้มครองแรงงานฉบับใหม่”
วันที่ 26 พฤษภาคม 2566
เวลา 13.00 – 16.00 น.
อบรมทาง Zoom Online
ค่าลงทะเบียน สมาชิก 2,000 บาท
บุคคลทั่วไป 2,500 บาท
(ไม่รวม Vat 7%)
ลงทะเบียนอบรม คลิก https://forms.gle/6To8gFKAwMUNv6eCA
📢 ข่าวประชาสัมพันธ์
📌อึคอนไทย ร่วมกับ The Association for Overseas Technical Cooperation and Sustainable Partnerships ( AOTS) ประเทศญี่ปุ่น เปิดรับสมัครทุนอบรม (Hybrid course) ณ ประเทศญี่ปุ่น 🇯🇵 โดยได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายจากรัฐบาลประเทศญี่ปุ่น ทั้งหมด ‼️
📌ทุนอบรม หัวข้อ The Program on Occupational Safety and Health Management and Work Environment Improvement [ERWM]
📌เปิดรับใบสมัคร
: ตั้งแต่บัดนี้ – วันที่ 15 พฤษภาคม 2566
( ค่าลงทะเบียนสอบ 2,000 บาท )
📍สอบสัมภาษณ์
: วันที่ 19 พฤษภาคม 2566
เวลา 10.00 น.-12.00 น.
🗓️กำหนดการอบรม คลิก https://drive.google.com/drive/folders/1c1E_axNfxL1IdxONDEsqWJuwxF-ywRUE?usp=share_link
📣ข่าวประชาสัมพันธ์📣
📌อึคอนไทย ร่วมกับ The Association for Overseas Technical Cooperation and Sustainable Partnerships ( AOTS) ประเทศญี่ปุ่น เปิดรับสมัครทุนอบรม (Hybrid course) ณ ประเทศญี่ปุ่น 🇯🇵โดยได้รับการสนับสนุนค่าใช้จ่ายจากรัฐบาลประเทศญี่ปุ่น ทั้งหมด ‼️
📍ในหัวข้อ Instructors’ Training Course on the “Management Training Program (MTP)” [ERMI]
📌เปิดรับใบสมัคร
: ตั้งแต่บัดนี้-วันที่ 30 เม.ย.66
( ค่าลงทะเบียนสอบ 2000 บาท )
📍สอบสัมภาษณ์
: วันที่ 3 พ.ค.66
เวลา 10.00 น.-12.00 น.
👩🏼⚖️ กำหนดการอบรม คลิก https://drive.google.com/drive/folders/19zUMlDcprRkdZfcufCgsLB3QIYcV7t8L
ตามกฎหมายกระทรวงแรงงานกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 สำหรับสถานประกอบกิจการที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 20 คนขึ้น
ไปจะต้องมี เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับบริหาร
วัตถุประสงค์
1. เพื่อกำกับดูแลเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทุกระดับ
2. เพื่อส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน
3. บริหารและจัดการเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงาน
หัวข้อบรรยาย
หมวด 1 *** การจัดการความปลอดภัยในการทำงาน
( จำนวน 3 ชั่วโมง) (ก) แนวคิดการจัดการความปลอดภัยในการทำงาน
(ข) บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยระดับบริหาร
หมวด 2 *** กฏหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
( จำนวน 3 ชั่วโมง) (ก) แนวคิดการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน
(ข) สาระสำคัญของกฏหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม
ในการทำงานและการนำกฎหมายไปสู่การปฏิบัติ
หมวด 3 *** การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
( จำนวน 6 ชั่วโมง) (ก) แนวคิดการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
(ข) แนวคิดมาตรฐานระบบการจัดการ อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
(ค) ระบบการจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
ของสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม
(ง) การประยุกต์ใช้ระบบการจัดการ อาชีวอนามัยและ
ความปลอดภัยในสถานประกอบกิจการ
ตามกฎกระทรวงแรงงานกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ.2549 สำหรับสถานประกอบกิจการประเภท 1-5 ที่มีลูกจ้าง 2 คนขึ้นไป
และสถานประกอบกิจการประเภท 6-14 ที่มีลูกจ้าง 20 คนขึ้นไปจะต้องมีเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน
ระดับหัวหน้างาน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความเข้าใจถึงบทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของเจ้าหน้าที่
ความปลอดภัยในระดับหัวหน้างาน
2. เพื่อให้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการสังงานและแนะนำการปฏิบัติงานด้วยหลักการความปลอดภัย
3. เพื่อส่งเสริม สนับสนุนให้เกิดความปลอดภัยในการทำงาน
หัวข้อบรรยาย
หมวด 1 *** ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับความปลอดภัยในการทำงานและบทบาทหน้าที่ของหัวหน้างาน
(จำนวน 3 ชั่วโมง) (ก) ความรู้เกี่ยวกับความปลอดภัยและอาชีวอนามัย
(ข) บทบาทหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงานระดับหัวหน้างาน
หมวด 2 *** กฎหมายด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
(จำนวน 3 ชั่วโมง) (ก) การบริหารกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อม
ในการทำงานของกระทรวงแรงงาน
(ข) สาระสำคัญของกฏหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อม
ในการทำงานและการนำกฎหมายไปสู่การปฏิบัติ
หมวด 3 *** การค้นหาอันตรายจากการทำงาน
(จำนวน 3 ชั่วโมง) (ก) การตรวจความปลอดภัย
(ข) การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย
(ค) การสอบสวนและการรายงานอุบัติเหตุ
หมวด 4 *** การควบคุมและการป้องกันอันตราย
(จำนวน 3 ชั่วโมง) (ก) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากเครื่องจักร
(ข) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากไฟฟ้า
(ค) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากการเคลื่อนย้ายและจัดเก็บวัสดุ
(ง) การป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการ
(จ) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากสิ่งแวดล้อมในการทำงาน
(ฉ) การป้องกันและควบคุมอันตรายจากสารเคมี
(ช) การป้องกันและควบคุมปัญหาด้านการยศาสตร์
(ซ) การป้องกันและควบคุมอันตรายในงานก่อสร้าง
(ฌ) การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล
Safety Health Occupational Safety and Health Commitee
ตามกฎหมายกระทรวงแรงงาน ได้ออกฏกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน พ.ศ. 2549 จะต้องได้รับการอบรมเกี่ยวกับบทบาทหน้าที่ตามกฎหมายกำหนด
ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่อธิบดีประกาศกำหนด
โดยสรุป
สถานประกอบกิจการจะต้องมี คณะกรรมการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ดังนี้
ลูกจ้างตั้งแต่ 50-99 ต้องมี คปอ. 5 คน
ลูกจ้างตั้งแต่ 100-499 ต้องมี คปอ. 7 คน
ลูกจ้างตั้งแต่ 500 คนขึ้นไป ต้องมี คปอ. 11 คน
หน้าที่หลักๆ คปอ.
1. เพื่อพิจารณานโยบายและแผนงานด้านความปลอดภัย เพื่อป้องกันและลดอุบัติเหตุ
2. เพื่อรายงานและเสนอแนะมาตรการจากการทำงาน หรือความไม่ปลอดภัยฯ
3. เพื่อส่งเสริม สนับสนุน กิจกรรมด้านความปลอดภัย
4. พิจารณาข้อบังคับ และคู่มือความปลอดภัย
5. สำรวจปฏิบัติการด้านความปลอดภัย ตรวจสอบสติถิการประสบอัตรายฯ
6. พิจารณาโครงการ หรือแผนการฝึกอบรมเกี่ยวกับความปลอดภัย
7. วางระบบการรายงานสภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย
8. ติดตามผล ความคืบหน้า ที่เสนอนายจ้าง
9. รายงานผลปฏิบัติงานประจำปี
10. ประเมินผลการดำเนินงาน
11. ปฏิบัติงานด้านความปลอดภัย
หัวข้อบรรยาย
หมวด 1 หมวดที่ 1 การบริหารคณะกรรมการความปลอดภัยฯ อย่างมีประสิทธิภาพ
( จำนวน 3 ชั่วโมง) ก.แนวคิดระบบการจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
ข.การพิจารณาแผนงานและโครงการความปลอดภัย
ในการทำงานและความปลอดภัยนอกงาน
หมวด 2 หมวดที่ 2 กฎหมายความปลอดภัยในการทำงาน
( จำนวน 3 ชั่วโมง) ก.กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร
และการจัดการด้านความปลอดภัยฯ พ.ศ.2549
ข.สาระสำคัญของกฎหมายความปลอดภัยในการทำงานที่เกี่ยวข้อง
หมวด 3 หมวดที่ 3 บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการความปลอดภัยอาชีวอนามัย
( จำนวน 6 ชั่วโมง) และสภาพแวดล้อมในการทำงาน
ก.การควบคุมและป้องกันการประสบอันตรายจากการทำงาน
ข.การสำรวจความปลอดภัย
ค.การจัดการข้อบังคับ คู่มือและมาตรฐานด้านความปลอดภัยในการทำงาน
ง.การวางระบบการรายงานสภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย
จ.การประเมินผลการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในการทำงาน
ฉ.การประชุมและการติดตามงาน